+++ to secure your transactions use the Bitcoin Mixer Service +++

 

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมนเฟรมคอมพิวเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nakrut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8340685 โดย 2403:6200:8956:2C99:4C56:4D49:3617:1FCด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
 
(ไม่แสดง 40 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 11 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Honeywell-Bull DPS 7 Mainframe BWW March 1990.jpg|thumb|250px|เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ''Honeywell-Bull DPS 7'']]
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) [[หมวดหมู่:ประเภทของคอมพิวเตอร์]] หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วน ความจำและความเร็วน้อยลงสามารถใช้ข้อมูลและคำสั่งของเครื่องรุ่นอื่นใน ตระกูล (Family) เดียวกันได้โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทำงานในระบบเครือข่าย (Network) ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องปลายทาง (Terminal) จำนวนมากได้ สามารถทำงานได้พร้อมกันหลายงาน (Multi Tasking) และใช้งานได้พร้อมกันหลายคน (Multi User)
'''เมนเฟรมคอมพิวเตอร์''' ({{lang-en|mainframe computer}}) คือ[[คอมพิวเตอร์]]ขนาดใหญ่ที่ใช้ในองค์กรเพื่อประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก เช่น [[สำมะโนประชากร]] สถิติผู้บริโภค [[การบริหารทรัพยากรขององค์กร]] เป็นต้น
ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใช้ในธุรกิจขนาดใหญ่มีราคาตั้งแต่สิบล้านบาทไปจนถึง หลายร้อยล้านบาทตัวอย่างของเครื่องเมนเฟรมที่ใช้กันแพร่หลายก็คือ คอมพิวเตอร์ของธนาคารที่เชื่อมต่อไปยังตู้ ATM และสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง<ref>https://sdblogweb.wordpress.com/%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C/</ref>


== ประวัติ ==
เครื่องเมนเฟรมเป็นเครื่องที่ได้รับความนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วไปจัดเป็นเครื่องที่มีประสิทธิภาพรองลงมาจาก[[ซูเปอร์คอมพิวเตอร์]] ซึ่งในช่วงปลาย ค.ศ 1950 [[ไอบีเอ็ม|บริษัท IBM]] จัดเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์โดยเกิดจากการมีส่วนแบ่งตลาดในการขายเครื่องระดับเมนเฟรมถึง 2 ใน 3 ของผู้ใช้เครื่องเมนเฟรมทั้งหมด เครื่องเมนเฟรมจะเป็นเครื่องที่มีขนาดใหญ่ต้องอยู่ในห้องที่ได้รับการอุณหภูมิและปราศจากฝุ่นละอองเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์
[[ไฟล์:Mainframe Computers.jpg|thumb]]
เมนเฟรมเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงมากมักอยู่ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์หลักขององค์การและต้องอยู่ในห้องที่มีการควบคุมอุณหภูมิและมีการดูแลรักษาเป็นอย่างดีบริษัทผู้ผลิตเมนเฟรมได้พัฒนาขีดความสามารถของเครื่องให้สูงขึ้น


เครื่องเมนเฟรมนิยมมาใช้ในงานที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ เครื่องรุ่นใหม่ ๆ จะได้การพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยทำงานพร้อม ๆ กันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่มีจำนวณประมวลผลน้อยกว่าหน่วยเมนเฟรมจัดอยู่ในความเร็วของหน่วยเมกะฟรอป (megaflop) หรือการคำนวณหนึ่งล้านครั้งในหนึ่งวินาที
ข้อเด่นของการใช้เมนเฟรมอยู่ที่งานที่ต้องการให้มีระบบศูนย์กลางและกระจายการใช้งานไปเป็นจำนวนมาก เช่น
ระบบเอทีเอ็มซึ่งเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลที่จัดการโดยเครื่องเมนเฟรมอย่างไรก็ตามขนาดของเมนเฟรมและมินิคอมพิวเตอร์ก็ยากที่จะจำแนกจากกันให้เห็นชัด


== ประเภทของเมนเฟรม ==
ปัจจุบันเมนเฟรมได้รับความนิยมน้อยลงทั้งนี้เพราะคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมีประสิทธิภาพและความสามารถดีขึ้น ราคาถูกลงขณะเดียวกันระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็ดีขึ้นจนทำให้การใช้งานบนเครือข่ายกระทำได้เหมือนการใช้งานบนเมนเฟรม<ref>http://nahnumookmookjoy.blogspot.com/2015/02/mainframe-computer.html</ref>
ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรมส่วนมากจะมีหน่วยคอมพิวเตอร์ย่อย ๆ ประกอบอยู่ด้วยเพื่อช่วยในการทำงานบางประเภทให้กับเครื่องหลัก สามารถแยกตามหน้าที่ได้ดังนี้
*Host processor (หน่วยประมวลผลโฮสต์) เป็นเครื่องหลักทำหน้าที่ควบคุมหน่วยประมวลผล อุปกรณ์รอบข้าง และการคำนวณต่าง ๆ
*Font-end processor มีหน้าที่ควบคุมติดต่อระหว่างหน้าจอของผู้ใช้งานที่เรียกว่าจอเทอร์มินัลระยะไกล (remote terminal) กับระบบคอมพิวเตอร์หลัก
*Back-end processor มีหน้าทีจัดการเกี่ยวกับการใช้ข้อมูล

== โปรเซสเซอร์ส่วนต่าง ๆ บนเมนเฟรม ==
ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรมมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะรองรับผู้ใช้ได้หลายร้อยคนพร้อม ๆ กันซึ่งผู้ใช้เหล่านั้นอาจจะนั่งทำงานอยู่ใกล้เครื่องเมนเฟรมหรืออาจจะอยู่ที่อื่นซึ่งไกลออกไปก็ได้เครื่องเมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผู้ใช้เหล่านั้นไว้ในหน่วยความจำหลักและมีการสับเปลี่ยนหรือสวิทซ์การทำงานระหว่างโปรแกรมต่าง ๆ เหล่านั้นอย่างรวดเร็วโดยที่ผู้ใช้จะไม่รู้สึกเลยว่ามีการสับเปลี่ยนการทำงานไปทำงานของคนอื่นอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วกว่ามนุษย์มากหลักการที่เครื่องเมนเฟรมสามารถทำงานหลายโปรแกรมพร้อมๆกันนั้น เรียกว่า "มัลติโปรแกรมมิง" (multiprogramming)

[[หมวดหมู่:ประเภทของคอมพิวเตอร์]]
{{โครงคอมพิวเตอร์}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 02:24, 15 มิถุนายน 2563

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ Honeywell-Bull DPS 7

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: mainframe computer) คือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ใช้ในองค์กรเพื่อประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก เช่น สำมะโนประชากร สถิติผู้บริโภค การบริหารทรัพยากรขององค์กร เป็นต้น

ประวัติ[แก้]

เครื่องเมนเฟรมเป็นเครื่องที่ได้รับความนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วไปจัดเป็นเครื่องที่มีประสิทธิภาพรองลงมาจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งในช่วงปลาย ค.ศ 1950 บริษัท IBM จัดเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์โดยเกิดจากการมีส่วนแบ่งตลาดในการขายเครื่องระดับเมนเฟรมถึง 2 ใน 3 ของผู้ใช้เครื่องเมนเฟรมทั้งหมด เครื่องเมนเฟรมจะเป็นเครื่องที่มีขนาดใหญ่ต้องอยู่ในห้องที่ได้รับการอุณหภูมิและปราศจากฝุ่นละอองเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์

เครื่องเมนเฟรมนิยมมาใช้ในงานที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ เครื่องรุ่นใหม่ ๆ จะได้การพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยทำงานพร้อม ๆ กันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่มีจำนวณประมวลผลน้อยกว่าหน่วยเมนเฟรมจัดอยู่ในความเร็วของหน่วยเมกะฟรอป (megaflop) หรือการคำนวณหนึ่งล้านครั้งในหนึ่งวินาที

ประเภทของเมนเฟรม[แก้]

ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรมส่วนมากจะมีหน่วยคอมพิวเตอร์ย่อย ๆ ประกอบอยู่ด้วยเพื่อช่วยในการทำงานบางประเภทให้กับเครื่องหลัก สามารถแยกตามหน้าที่ได้ดังนี้

  • Host processor (หน่วยประมวลผลโฮสต์) เป็นเครื่องหลักทำหน้าที่ควบคุมหน่วยประมวลผล อุปกรณ์รอบข้าง และการคำนวณต่าง ๆ
  • Font-end processor มีหน้าที่ควบคุมติดต่อระหว่างหน้าจอของผู้ใช้งานที่เรียกว่าจอเทอร์มินัลระยะไกล (remote terminal) กับระบบคอมพิวเตอร์หลัก
  • Back-end processor มีหน้าทีจัดการเกี่ยวกับการใช้ข้อมูล

โปรเซสเซอร์ส่วนต่าง ๆ บนเมนเฟรม[แก้]

ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรมมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะรองรับผู้ใช้ได้หลายร้อยคนพร้อม ๆ กันซึ่งผู้ใช้เหล่านั้นอาจจะนั่งทำงานอยู่ใกล้เครื่องเมนเฟรมหรืออาจจะอยู่ที่อื่นซึ่งไกลออกไปก็ได้เครื่องเมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผู้ใช้เหล่านั้นไว้ในหน่วยความจำหลักและมีการสับเปลี่ยนหรือสวิทซ์การทำงานระหว่างโปรแกรมต่าง ๆ เหล่านั้นอย่างรวดเร็วโดยที่ผู้ใช้จะไม่รู้สึกเลยว่ามีการสับเปลี่ยนการทำงานไปทำงานของคนอื่นอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วกว่ามนุษย์มากหลักการที่เครื่องเมนเฟรมสามารถทำงานหลายโปรแกรมพร้อมๆกันนั้น เรียกว่า "มัลติโปรแกรมมิง" (multiprogramming)