+++ to secure your transactions use the Bitcoin Mixer Service +++

 

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมนเฟรมคอมพิวเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
[[ไฟล์:Honeywell-Bull DPS 7 Mainframe BWW March 1990.jpg|thumb|250px|เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ''Honeywell-Bull DPS 7'']]
'''เมนเฟรัมคอมพิวเตอร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: mainframe computer) คือ[[คอมพิวเตอร์]]ขนาดใหญ่ที่ใช้ในองค์กรเพื่อประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก เช่น [[สำมะโนประชากร]] สถิติผู้บริโภค [[การบริหารทรัพยากรขององค์กร]] เป

เครื่องเมนเฟรมเป็นเครื่องที่ได้รับความนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วๆไปจัดเป็นเครื่องที่มีประสิทธิภาพรองลงมาจาก[[ซูเปอร์คอมพิวเตอร์]] ซึ่งในช่วงปลาย ค.ศ 1950 [[ไอบีเอ็ม|บริษัท IBM]] จัดเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์โดยเกิดจากการมีส่วนแบ่งตลาดในการขายเครื่องระดับเมนเฟรมถึง 2 ใน 3 ของผู้ใช้เครื่องเมนเฟรมทั้งหมด เครื่องเมนเฟรมจะเป็นเครื่องที่มีขนาดใหญ่ต้องอยู่ในห้องที่ได้รับการอุณหภูมิและปราศจากฝุ่นละอองเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์

เครื่องเมนเฟรมนิยมมาใช้ในงานที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจำนวนมากๆ เครื่องรุ่นใหม่ๆจะได้การพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยทำงานพร้อมๆกันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่มีจำนวณประมวลผลน้อยกว่าหน่วยเมนเฟรมจัดอยู่ในความเร็วของหน่วยเมกะฟรอป (megaflop) หรือการคำนวณหนึ่งล้านครั้งในหนึ่งวินาที
*

== โปรเซสเซอร์ส่วนต่าง ๆ บนเมนเฟรมafadjfihh ==
== ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรมมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะรองรับผู้ใช้ได้หลายร้อยคนพร้อม ๆ กันซึ่งผู้ใช้เหล่านั้นอาจจะนั่งทำงานอยู่ใกล้เครื่องเมนเฟรมหรืออาจจะอยู่ที่อื่นซึ่งไกลออกไปก็ได้เครื่องเมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผู้ใช้เหล่านั้นไว้ในหน่วยความจำหลักและมีการสับเปลี่ยนหรือสวิทซ์การทำงานระหว่างโปรแกรมต่างๆ เหล่านั้นอย่างรวดเร็วโดยที่ผู้ใช้จะไม่รู้สึกเลยว่ามีการสับเปลี่ยนการทำงานไปทำงานของคนอื่นอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วกว่ามนุษย์มากหลักการที่เครื่องเมนเฟรมสามารถทำงานหลายโปรแกรมพร้อมๆกันนั้น เรียกว่า "มัลติโปรแกรมมิง" (multiprogramming) ==
[[หมวดหมู่:ประเภทของคอมพิวเตอร์]]
[[หมวดหมู่:ประเภทของคอมพิวเตอร์]]
{{โครงคอมพิวเตอร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:06, 19 มิถุนายน 2560